[fusion_builder_container type=”flex” hundred_percent=”no” hundred_percent_height=”no” min_height_medium=”” min_height_small=”” min_height=”” hundred_percent_height_scroll=”no” align_content=”stretch” flex_align_items=”flex-start” flex_justify_content=”flex-start” flex_column_spacing=”” hundred_percent_height_center_content=”yes” equal_height_columns=”no” container_tag=”div” menu_anchor=”” hide_on_mobile=”small-visibility,medium-visibility,large-visibility” status=”published” publish_date=”” class=”” id=”” margin_top_medium=”” margin_bottom_medium=”” margin_top_small=”” margin_bottom_small=”” margin_top=”” margin_bottom=”” padding_top_medium=”” padding_right_medium=”” padding_bottom_medium=”” padding_left_medium=”” padding_top_small=”” padding_right_small=”” padding_bottom_small=”” padding_left_small=”” padding_top=”” padding_right=”10%” padding_bottom=”” padding_left=”10%” link_color=”” link_hover_color=”” border_sizes_top=”” border_sizes_right=”” border_sizes_bottom=”” border_sizes_left=”” border_color=”” border_style=”solid” box_shadow=”no” box_shadow_vertical=”” box_shadow_horizontal=”” box_shadow_blur=”0″ box_shadow_spread=”0″ box_shadow_color=”” box_shadow_style=”” z_index=”” overflow=”” gradient_start_color=”” gradient_end_color=”” gradient_start_position=”0″ gradient_end_position=”100″ gradient_type=”linear” radial_direction=”center center” linear_angle=”180″ background_color=”” background_image=”” skip_lazy_load=”” background_position=”center center” background_repeat=”no-repeat” fade=”no” background_parallax=”none” enable_mobile=”no” parallax_speed=”0.3″ background_blend_mode=”none” video_mp4=”” video_webm=”” video_ogv=”” video_url=”” video_aspect_ratio=”16:9″ video_loop=”yes” video_mute=”yes” video_preview_image=”” render_logics=”” absolute=”off” absolute_devices=”small,medium,large” sticky=”off” sticky_devices=”small-visibility,medium-visibility,large-visibility” sticky_background_color=”” sticky_height=”” sticky_offset=”” sticky_transition_offset=”0″ scroll_offset=”0″ animation_type=”” animation_direction=”left” animation_speed=”0.3″ animation_offset=”” filter_hue=”0″ filter_saturation=”100″ filter_brightness=”100″ filter_contrast=”100″ filter_invert=”0″ filter_sepia=”0″ filter_opacity=”100″ filter_blur=”0″ filter_hue_hover=”0″ filter_saturation_hover=”100″ filter_brightness_hover=”100″ filter_contrast_hover=”100″ filter_invert_hover=”0″ filter_sepia_hover=”0″ filter_opacity_hover=”100″ filter_blur_hover=”0″][fusion_builder_row][fusion_builder_column type=”1_1″ layout=”1_1″ background_position=”left top” background_color=”” border_color=”” border_style=”solid” border_position=”all” spacing=”yes” background_image=”” background_repeat=”no-repeat” padding_top=”” padding_right=”” padding_bottom=”” padding_left=”” margin_top=”0px” margin_bottom=”0px” class=”” id=”” animation_type=”” animation_speed=”0.3″ animation_direction=”left” hide_on_mobile=”small-visibility,medium-visibility,large-visibility” center_content=”no” last=”true” min_height=”” hover_type=”none” link=”” border_sizes_top=”” border_sizes_bottom=”” border_sizes_left=”” border_sizes_right=”” first=”true”][fusion_text columns=”” column_min_width=”” column_spacing=”” rule_style=”default” rule_size=”” rule_color=”” content_alignment_medium=”” content_alignment_small=”” content_alignment=”” hide_on_mobile=”small-visibility,medium-visibility,large-visibility” sticky_display=”normal,sticky” class=”” id=”” margin_top=”” margin_right=”” margin_bottom=”” margin_left=”” font_size=”” fusion_font_family_text_font=”” fusion_font_variant_text_font=”” line_height=”” letter_spacing=”” text_color=”” animation_type=”” animation_direction=”left” animation_speed=”0.3″ animation_offset=””]
ต้อเป็นโรค ที่จะเกิดขึ้นกับดวงตา โดยอาการหลักๆ ส่วนใหญ่จะมีผลต่อระบบการมองเห็น วันนี้เราลองมาทำความรู้จักกับโรคต้อแต่ละชนิดกันครับ
โรคต้อลม (Pinguecula)
เป็นโรคที่เกิดอาการผิดปกติของเนื้อเยื่อตา โดยเปลี่ยนเป็นเนื้องอกชนิดที่ไม่ร้ายแรงที่บริเวณเยื่อบุขาว ซึ่งมีผลทำให้มีอาการระคายเคืองของดวงตาร่วมอยู่ด้วย
โดยต้อลมสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ซึ่งอาการจะมองเห็นเป็นตุ่มนูนๆ หรือแผ่นสีเหลือง มักพบอยู่ในบริเวณตาขาว ใกล้กระจกตา ซึ่งเนื้องอกชนิดนี้อาจจะเจริญเติบโตไปยังกระจกเตาได้ ซึ่งถ้าเกิดการลุกลามไปยังกระจกตาแล้ว จะอีกเป็น โรคต้อเนื้อ
อาการโดยทั่วไป ของโรคต้อลม
โดยปกติ ต้อลม จะทำให้เกิดการระคายเคือง ซึ่งอาจจะมีอาการเพียงเล็กน้อย แต่บางรายก็อาจจะมีอาการรุนแรงได้ ซึ่งทั่วไป ต้อลม จะไม่ค่อยมีอาการ ยกเวินว่ามีการอักเสบหรืออาการอื่นๆ ร่วมอยู่ด้วย และถ้าหากผู้ป่วยมีอาการแบบนี้ ควรรีบเข้าตรวจรักษาโรคตา ด้วยจักษุแพทย์ทันที
- ขนาดก้อนเนื้อมีขนาดเปลี่ยนไป เช่นขนาด หรือสี
- มีของเหลวสีเหลืองไหลออกมาจากดวงตา
- เปลือก หรือผิวรอบดวงตามีอาหารบวมและเป็นสีแดง
- มีปํญหาในการมองเห็น
สาเหตุของโรคต้อลม
โดยปกติ สาเหตุยังไม่ทราบได้อย่างแน่ชัด แต่ปัจจัยเสี่ยงที่จะทำให้เกิดโรคต้อลมก็คือ โดนแสงแดด หรือรังสีอัลตร้าไวโอเล็ตจากดวงอาทิตย์เป็นเวลานาน ๆ และบ่อย ๆ หรืออาจจะเกิดจากการระคายเคืองดวงตา เช่น ตาแห้ง ตาโดนลม ฝุ่นละออง ซึ่งโรคนี้ มีโอกาสเกิดขึ้นได้กับคนทุกวัย แต่จะเกิดขึ้นบ่อยในผู้สูงอายุ ตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป หรือ อาชีพที่ทำงานในสถานที่ที่มีความเสี่ยงดังกล่าว
การรักษาต้อลม
โดยทั่วไป ต้อลมอาจจะไม่จำเป็นที่ต้องรักษา แต่ถ้ามีอาการระคายเคือง เจ็บตา ทางแพทย์ อาจจะแนะนำให้ผู้ป่วยใช้ น้ำตาเทียม หรือยาหยอดตา ซึ่งถ้ามีอาการมากๆ ทางแพทย์อาจจะให้ใช้การรักษาโดยการผ่าตัด
โรคต้อเนื้อ (Pterygium)
โรคต้อเนื้อ เป็นโรคที่มีอาการต่อจากต้อลม หรือก็คือ เกิดเนื้องอกที่บริเวณดวงตา และลามไปยังส่วนของกระจกตา ซึ่งถ้าเป็นมากจาถึงกลางของตาดำ จะทำให้บดบังการมองเห็น ทำให้สายตามัว ซึ่งอาการโดยทั่วไป จะก่อความรำคาญให้กับผู้ป่วย
ซึ่งการวินิจฉัยโรคต้อเนื้อ สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า เช่นเดียวกับต้อลม ซึ่งจะมองเห็นเป็นตุ่มนูน ๆ หรือแผ่นสีเหลือง มีบริเวณที่ตาขาวและลามไปยังกระจกตา
อาการโดยทั่วไปของโรคต้อเนื้อ
ผู้ป่วยที่เป็นต้อเนื้อจะมีอาการระคายเคืองดวงตา แสงตา น้ำตาไหล ตาแดง คันตา ถ้าเป็นมาก อาจจะทำให้มีอาการตามัวร่วมด้วย
สาเหตุของโรคต้อเนื้อ
สาเหตุที่จะเกิดโรคต้อเนื้อจะคล้ายคลึง กับโรคต้อลม นั่นคือการโดนแสงแดง หรือรังสีอัลตร้าไวโอเลต เป็นเวลานานๆ บ่อยๆ หรือเกิดจากตาแห้ง โดนลม ฝุ่นละออง
การรักษาต้อลม
สำหรับผู้ที่มีอาการน้อย ทางแพทย์อาจจะจัดยาหยอดตาให้ ซึ่งยาหยอดตาจะช่วยในเรื่องการระคายเคืองดวงตา แต่จะไม่สามารถรักษาต้อเนื้อให้หายขาดได้ และสำหรับผู้ที่มีอาการมาก ซึ่งทำให้ตามัว ทางแพทย์อาจจะใช้วิธีผ่าตัดในการรักษา ซึ่งหลังจากการผ่าตัดแล้ว คนไข้จะมีโอกาสที่เกิดต้อเนื้อกลับมาใหม่ได้ ซึ่งหลังจากการผ่าตัดคนไข้ควรจะดูแลตัวเองมากขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดอาการต้อเนื้อซ้ำ ซึ่งถ้าเป็นอีกครั้ง การรักษาจะยากขึ่้นด้วย
โรคต้อกระจก (Phacoemulsification)
โรคต้อกระจก สาเหตุหลักจะเกิดจากการเสื่อมสภาพของเลนส์แก้วตา ซึ่งทำให้เลนส์ตาจากปกติที่จะมีลักษณะโปร่งใส กลายเป็นสีขุ่น ทำให้เกิดอาหารตาฟางหรือตามัว มีปัญหาในการมองเห็น
อาการทั่วไปของโรคต้อกระจก
อาการทั่วไปที่สามารถสังเกตุได้คือ ดวงตาสีเริ่มขุ่น การมองเห็นค่อย ๆ มัวลงอย่างช้าๆ โดยไม่มีอาการอื่น และอาการตามัว จะเป็นมากขึ้นในสถานที่มีแสงสว่างจ้า แต่กลับจะมองเห็นได้ดีขึ้นเกือบเป็นปกติในที่มืดสลัว ๆ มีการเห็นภาพซ้อน หรือเห็นฟ้าขาว บริเวณกลางรูม่านตา
สาเหตุของโรคต้อกระจก
โดยปกติ ปัจจัยเสี่ยง คืออายุของผู้ป่วย โดยคนไข้ที่มาอายุเกิน 65 ปี มีโอกาสที่จะเป็นต้อกระจกได้ และนอกจากผู้สูงอายุแล้ว ยังมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ อีก เช่น โรคเบาหวาน ประวัติครอบครัวเคยมีผู้เป็นโรคต้อกระจก เคยรับอุบัติเหตุที่ดวงตา สัมผัสกับแสงแดงมาก ๆ และนาน ๆ เลนส์ดวงตามีการกระทบกระเทือนอย่างรุนแรง
การรักษาต้อโรคต้อกระจก
สำหรับต้อกระจกที่เป็นในช่วงแรกที่ยังมีอาการไม่มาก ทางแพทย์จะยังไม่ทำการรักษา และเข้มมาพบแพทย์เพื่อทำการตรวจเช็คอาการตามที่ทางจักษุแพทย์นัด เมื่อต้อสุกหรือแก่แล้วทางแพทย์จะใช้การรักษาด้วยการผ่าตัด หลังการผ่าตัด ทางแพทย์จะใส่ แก้วตาเที่ยมเข้าแทนอันเดิม ซึ่งหลังจากผ่าตัด อาจจะมีอาการระคายเคืองขึ้นได้ ซึ่งทางจักษุแพทย์ จะให้คนไข้ใส่เครื่องป้องกันการขยี้ตา ซึ่งถ้าหลังผ่าตัด มีอาการผิดปกติ ควรเข้าพบแพทย์ทันที
โรคต้อหิน (Glaucoma)
ต้อหิน เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมของขั้วประสาทตา ซึ่งมีผลรุนแรงทำให้สูญเสียการมองเห็น เป็นสาเหตุของอาการตาบอด โดยปัจจัยเสี่ยงสำคัญ คือ เกิดความดันลูกตาที่สูง โดยทั่วไปจะเปิดจากความผิดปกติของการไหลเวียนของน้ำหล่อเลี้ยงลูกตา ทำให้เกิดความดันลูกตาสูงขึ้ นและเกิดการทำลายประสาทตา
อาการของโรคต้อหิน
ในระยะแรกผู้ป่วยจะไม่มีอาการแสดงออกมา แต่ถ้าไม่รีบรักษาตั้งแต่ในระยะเริ่มต้น จะทำให้สูญเสียการมองเห็นไปอย่างช้า ๆ โดยเริ่มจากด้านข้าง และทำให้ตาบอดในที่สุด ซึ่งโรคต้อหินสามารถควบคุมได้ถ้าหากได้รับการวินิจฉัยและรักษาตั้งแต่ในระยะแรก ๆ
สาเหตุของโรคต้อหิน
โดยปกติต้อหิน จะเกิดกับผู้ใหญ่ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป ซึ่งจะมีความเสี่ยงที่จะเกิดต้อหินขึ้นได้ และนอกจากผู้สูงอายุ ยังมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ อีก เช่น การมีครอบครัวที่เป็นต้อหิน ตรวจพบความดันตาสูง เคยเกิดอุบัติเหตุกับดวงตา หรือโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ไมเกรด มีสายตายาวหรือสั้นมาก ๆ
การรักษาโรคต้อหิน
เนื่องจากต้อหินเป็น อาการที่ทำให้สูญเสียการมองเห็นได้อย่างถาวร การรักษาจะเป็นการประคับประคองเพื่อให้สายตาไม่ถูกทำลายเพิ่มขึ้น และรักษาการมองเห็นให้นานที่สุด โดยจะมี วิธีการให้ยา โดยวิธีนี้ มีเป้าหมายเพื่อลดความดันของลูกตาให้อยู่ในระดับ ที่ไม่ทำลายประสาทตา ซึ่งจะต้องให้ยาอย่างสม่ำเสมอ และเข้าตรวจประเมินดวงตาเป็นระยะ ๆ และวิธีการใช้เลเซอร์ และการผ่าตัด
หากสงสัย และอยากตรวจโรคดวงตา
สอบถามข้อมูล และปรึกษาแพทย์
@firstclinic
รีวิวฟิลเลอร์ใต้ตา และราคา
Tel (เจ้าหน้าที่รับนัด) : 0944-0944-49
LINE ID : @firstclinic
[/fusion_text][/fusion_builder_column][/fusion_builder_row][/fusion_builder_container]